วันศุกร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2553

ครั้งที่15


1.อาจารย์ให้นักศึกษาทำข้อสอบปลายภาค
- เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2.อารย์ให้นักศึกษาประเมินผู้สอน

บันทึกครั้งที่ 14




ส่งข้อสอบลวิทยาสาสตร์
1. อาจารย์มีการอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหา
เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข และให้ นักศึกษาอ้างอิง

2. อาจารย์อธิบายกระบวนการทางวิทยาศาสตณื

วันอังคารที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 13


สรุปแผนผังที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมให้กับเด็กปฐมวัยและกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน การ สังเกต การจำแนก การวัด มิติกับเวลา

บันทึกครั้งที่ 12




หลังจากจัดกิจกรรมมีการ นำกิจกรรมมาจัดที่ห้องเรียน
สรุปงานแผนผังที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน
การจัดโต๊ะ เก้าอี้ในรูปแบบของเกือกม้า หรือปากชามการจัดที่นั่งแบบนี้ ช่วยในการเรียนการสอน เช่นการทดลอง เด็กได้เรียนรู้จากการจับ และปฏิบัติสรุปองค์ประกอบของการเขียนแผนผัง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การเดิความสัมพันธ์ของ 2อย่างเข้าด้วยกัน การสังเกต ,การวัด จำแนก ,มิติเวลา กิจกรรมศิลปะไม่ควรใช้ดินสอเพราะ จะทำให้เด็กไม่มีความเชื่อมั่นหมายเหตุ แจกแบบทดสอยให้ทำ ส่งอาทิตย์หน้า

วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 11







วันที่2 สิงหาคม พ.ศ 2553
อาจารย์มีการจัดกิจรรมนอกสถานที่ให้นักศึกษาไปดูงานที่ สัตหีบ จังหวัดชลบุรี 2 วันกับอีก 1 คืน มีกิจกรรมต่างๆมากมายให้นักศึกษา
ทำร่วมกันกับรุ่นพี่ และเพื่อน และไปงานวันวิทยาศาสตร์ที่อนุบาลสัตหีบ

บันทึกครั้งที่ 10







วันที่2 สิงหาคมวันที่2 สิงหาคม พ.ศ 2553
มีการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เป็นกลุ่ม เรื่อง น้ำ อากาศ เสียง แสง ที่อนุบาลสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ตอนเวลา 07.30 น. ให้เด็กอนุบาล1-ป.1ในงานวันวิทยาศาสตร์ มีกิจกรรมต่างๆมากมายที่เกี่ยวกับเด็ก และมีสื่อให้เด็กทำมากมาย

บันทึกครั้งที่ 9


วันที่2 สิงหาคม พ.ศ 2553
มีการนำเสนองานที่จะจัดให้เด็กในวันวิทยาศาสตร์กับอาจารย์จินตนา ว่ากิจกรรมไหนที่เหมาะที่จะจัดให้เด็ก ที่ละกลุ่ม และมีการนำสื่อมาแก้ไข

วันอังคารที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 4

วันพุธที่ 28 กรกฎาคม 2553
อาจารย์ให้นำเสนอโครงการแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่ 1 ถุงผ้าลดโลกร้อน ถุงขยะเยอะมากและย่อยสลายยากต้องฬช้เวลาหลายปี
กลุ่มที่ 2 กระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
กลุ่มที่ 3 ถุงขยะอัจฉริยะ
กลุ่มที่ 4 เรียงภาพจากไฟไหม้ป่า
กลุ่มที่ 5 คลายโลกร้อนด้วยมือน้อย
อาจารย์ให้งานกลุ่มประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์

วันจันทร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 3


12 กรกฏาคม 2533

อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอการลดภาวะโลกร้อนในเด็กตั้งแต่อายุ 2-5 ขวบ
ว่ามีวิธีการอย่างไรบ้าง และให้แต่ละกลุ่มไปเขียนโตรงการภาวะโลกร้อนมา นำเสนอ

กลุ่มที่ 1 ให้เด็กนำถุงผ้าเปล่ามาตกแต่งให้สวยงามและนำมาใช้แทนถุงพลาสติก ใส่สิ่งของต่างๆๆ
กลุ่มที่ 2 ให้เด็กนำขวดน้ำที่จะทิ้งแล้วมาตกแต่งเป็นกระถังใส่ต้นไม้ ให้เด็กปลูกต้นไม้คนละต้น
กลุ่มที่ 3 ให้เด็กเก็บขยะบริเวณโรงเรียนแล้วแยกขยะแต่ละประเภทออกมา
กล่มที่ 4 ให้เด็กนำถุงขยะมาประดิษฐเป็นชุดและกระโป่งให้เด็กรุ้คุณค่าของขยะ
กลุ่มที่ 5 ให้แยกรูปภาพสภาพแวดล้อมต่างๆให้ถูกต้อง

บันทึกครั้งที่ 2

วันที่ 12 กรกฏาคม 2553
ควรจะให้เด็กๆอนุบาลเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร ?วิทยาศาสตร์ -คือ ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้เเละทำความเข้าใจกับสิ่งเเวดล้อมดดละตัวตนของตนเอง การทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวเเละตัวตนของตนเอง โดยการสังเกตเเละตอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่พวกเขาเจอ ช่วยเชื่อมโยงเซลล์ของสมองงของเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็กๆ เพราะส่งเสริมให้เด็กได้คิดเป็นการเตรียมเด็กให้สามารถเรียนรู้ได้มากขึ้นถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจในธรรมชาติของเด็ก
-ปิดกั้นโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการไม่ให้ความสนใจกับคำถาม
-ไม่ให้ความสนใจกับการค้นพบเเบบเด็กๆ
-ไม่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมเเละต่อยอดทักษะเเละเเนวคิดที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสมทบทวนบทบาท
-เปิดโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการให้ความสนใจกับคำถาม
-ให้ความสนใจกับการค้นพบเเบบเด็ก
-จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมเเละต่อยอดทักษะเเละเเนวคิดที่ถูกต้องให้เด็กอย่างเหมาะสมเด็กวัยนี้
-ครู้ต้องเเม่นยำในพัฒนาการของเด็ก เพื่อที่จะสามารถจักการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความสามารถของเด็กสรุปเดี่ยวเด็กปฐมวัยกับวิทยาศาสตร์
: การเรียนรู้ของเด็กเเต่ละวัยที่จะพัฒนาการหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็น การสังเกต การทดลอง เป็นต้น วิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก คือ สิ่งเเวดล้อมที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก ความอยากรู้อยากเห็น ผู้ใหญ่ไม่ควรปิดโอกาสการเรียนรู้ของเด็ก ควรส่งเสริมต่อยอดทักษะเเละเเนวคิดที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างถูกต้องเเละเหมาะสมกับเด็ก ให้ความสนใจเเละค้นพบคำถามที่เด็กถามเเละอธิบายให้ถูกต้อง จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กโดยให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก ครูเเละผู้ปกครองควรยอมรับในเรื่องของจินตนาการที่มีอยู่สูงของเด็ก

วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 1

วันที่ 5 กรกฎาคม 2553
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากทางมหาวิทยาลัยมีการจัดกิจกรรมการรับน้อง
และได้ขออนุญาติอาจารย์เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมกับรุ่นน้อง