SCIENCE EXPERINCES FON EARLY CHILDHOOD
วันศุกร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่15
1.
อาจารย์ให้นักศึกษาทำข้อสอบปลายภาค
- เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2.อารย์ให้นักศึกษาประเมินผู้สอน
บันทึกครั้งที่ 14
ส่งข้อสอบลวิทยาสาสตร์
1. อาจารย์มีการอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหา
เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข และให้ นักศึกษาอ้างอิง
2. อาจารย์อธิบายกระบวนการทางวิทยาศาสตณื
วันอังคารที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 13
สรุปแผนผังที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมให้กับเด็กปฐมวัยและกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน การ สังเกต การจำแนก การวัด มิติกับเวลา
บันทึกครั้งที่ 12
หลังจากจัดกิจกรรมมีการ นำกิจกรรมมาจัดที่ห้องเรียน
สรุปงานแผนผังที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน
การจัดโต๊ะ เก้าอี้ในรูปแบบของเกือกม้า หรือปากชามการจัดที่นั่งแบบนี้ ช่วยในการเรียนการสอน เช่นการทดลอง เด็กได้เรียนรู้จากการจับ และปฏิบัติสรุปองค์ประกอบของการเขียนแผนผัง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การเดิความสัมพันธ์ของ 2อย่างเข้าด้วยกัน การสังเกต ,การวัด จำแนก ,มิติเวลา กิจกรรมศิลปะไม่ควรใช้ดินสอเพราะ จะทำให้เด็กไม่มีความเชื่อมั่นหมายเหตุ แจกแบบทดสอยให้ทำ ส่งอาทิตย์หน้า
วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่ 11
วันที่2 สิงหาคม พ.ศ 2553
อาจารย์มีการจัดกิจรรมนอกสถานที่ให้นักศึกษาไปดูงานที่ สัตหีบ จังหวัดชลบุรี 2 วันกับอีก 1 คืน มีกิจกรรมต่างๆมากมายให้นักศึกษา
ทำร่วมกันกับรุ่นพี่ และเพื่อน และไปงานวันวิทยาศาสตร์ที่อนุบาลสัตหีบ
บันทึกครั้งที่ 10
วันที่2 สิงหาคมวันที่2 สิงหาคม พ.ศ 2553
มีการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เป็นกลุ่ม เรื่อง น้ำ อากาศ เสียง แสง ที่อนุบาลสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ตอนเวลา 07.30 น. ให้เด็กอนุบาล1-ป.1ในงานวันวิทยาศาสตร์ มีกิจกรรมต่างๆมากมายที่เกี่ยวกับเด็ก และมีสื่อให้เด็กทำมากมาย
บันทึกครั้งที่ 9
วันที่2 สิงหาคม พ.ศ 2553
มีการนำเสนองานที่จะจัดให้เด็กในวันวิทยาศาสตร์กับอาจารย์จินตนา ว่ากิจกรรมไหนที่เหมาะที่จะจัดให้เด็ก ที่ละกลุ่ม และมีการนำสื่อมาแก้ไข
บทความที่เก่ากว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)